รายวิชา ประวัติศาศาสตร์ รหัสวิชา ส22102 คุณครูผู้สอน ครูชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

วันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Transcript of "เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์"

  1. 1. 1 คาชี้แจง การใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้าบทเรียนในเล่มนี้ ให้นักเรียนปฏิบัติ ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 15 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ 3. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบ 4. ศึกษาบทเรียนตามลาดับขั้นตอน และทากิจกรรมไม่ต้องรีบร้อน 5. ขณะที่ศึกษาบทเรียนถ้ามีปัญหาหรือข้อสงสัยให้ปรึกษาครูผู้สอนทันที 6. เมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคาตอบ จากเฉลยท้ายเล่ม 7. สรุปผลการทดสอบลงในกระดาษคาตอบ เพื่อทราบผลการเรียน และการ พัฒนา 8. นักเรียนต้องมีความรับผิดชอบ รักษาเอกสารนี้ให้อยู่ในสภาพดีไม่ขีดเขียน ข้อความใด ๆ ลงในเอกสารและให้ส่งคืนตามกาหนดเวลา
  2. 2. 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนรู้ เล่มที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทาง- ประวัติศาสตร์ มีจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและทักษะดังนี้ 1. อธิบายลักษณะและจาแนกประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยได้ 2. อธิบายขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์และนาไปใช้ได้
  3. 3. 3 แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์ คำชี้แจง 1.แบบทดสอบฉบับนี้มี 15 ข้อ คะแนนเต็ม 15 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ก. วิธีการสืบค้นเรื่องราวในอดีตอย่างเป็นระบบ ข. กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงในอดีต ค.ร่องรอยการกระทาของมนุษย์หรือร่องรอยของอดีต ง. การวิเคราะห์ตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ 2. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ก. จารึกตานาน ข. พงศาวดาร ค. จดหมายเหตุ ง. โครงกระดูกมนุษย์ 3. นักประวัติศาสตร์ศึกษาเรื่องราวพฤติกรรมของมนุษย์จากสิ่งใด ก. คาบอกเล่าต่อ ๆ กันมา ข. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ค. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ง. ไม่มีข้อใดถูก 4. โบราณสถาน โบราณวัตถุ จัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทใด ก. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ข. หลักฐานที่เป็นกึ่งลายลักษณ์อักษร ค. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ง. ทุกข้อถูก 5. สมัยประวัติศาสตร์หมายความว่าอย่างไร ก. สมัยที่มนุษย์มีตัวหนังสือใช้แล้ว ข. สมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวหนังสือใช้ ค. สมัยที่มนุษย์ทาเครื่องมือล่าสัตว์ได้ ง. สมัยที่มนุษย์เริ่มตั้งถิ่นฐาน
  4. 4. 4 6. นักประวัติศาสตร์กาหนดให้ใช้อะไรเป็นหลักเกณฑ์การแบ่งยุคในประวัติศาสตร์ ก. วัฒนธรรม ข. ตัวอักษร ค. โครงกระดูก ง. เครื่องมือเครื่องใช้ 7. การบันทึกเรื่องราวในอดีตของมนุษย์เรียกว่าอะไร ก. พงศาวดาร ข. มานุษยวิท ค. ประวัติศาสตร์ ง. จดหมายเหตุ 8. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ก. ตานาน ข. พระราชพงศาวดาร ค. จดหมายเหตุ ง. ถูกทุกข้อ 9. เหตุใดจึงกล่าวว่าพระราชพงศาวดารเป็นหลักฐานที่สาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัย อยุธยา ก. เพราะให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์พระราชวงศ์ได้มากกว่าหลักฐานอื่น ข. เพราะให้ความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรได้ละเอียดมากกว่าหลักฐานอื่น ค. พระราชพงศาวดารควรจะบันทึกแต่เหตุการณ์ที่สาคัญ ๆ เท่านั้น ง. เพราะราชพงศาวดารเป็นหลักฐานที่เก็บได้ง่ายกว่าหลักฐานอื่น 10. ข้อใดกล่าวถึงจดหมายเหตุโหรได้ถูกต้อง ก. การบันทึกเรื่องราวของพระมหากษัตริย์ ข. การบันทึกเหตุการณ์สาคัญเป็นรายวันตามลาดับทั้งปี ค. การบันทึกของชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อกับไทย ง. การบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับขนบประเพณี 11. ข้อใดเป็นหลักฐานโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ก. แหล่งโบราณคดีพงดึก อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี ข. แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า อ.เมือง จ. กาญจนบุรี ค. แหล่งโบราณคดีบ้านนาดี อ. หนองหาน จ. อุดรธานี ง. แหล่งโบราณคดีถ้าผี อ. เมือง จ. แม่ฮ่องสอน 12. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ก. จดหมายเหตุ ข. พงศาวดาร ค. จารึก ง. เพลงพื้นบ้าน
  5. 5. 5 13. วิธีการที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ กี่ขั้นตอน ก. 2 ขั้นตอน ข. 3 ขั้นตอน ค. 4 ขั้นตอน ง. 5 ขั้นตอน 14. หลักฐานทางด้านนาฏศิลป์ - ดนตรี จะศึกษาได้จากส่วนใด ก. จากคาบอกเล่า ข. จากหอสมุด ค. จากจดหมายเหตุ ง. จากงานเขียนของผู้เชี่ยวชาญด้านนั้น ๆ 15. หลักฐานประเภทคาบอกเล่าเหมาะสาหรับใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ในข้อใด ก. ประวัติศาสตร์ชาติไทย ข. ประวัติศาสตร์สากล ค. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ง. ประวัติศาสตร์โบราณ
  6. 6. 6 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทา การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่ อาศัยของมนุษย์หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณี ปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบัน สิ่งที่มนุษย์จับต้องและทิ้งร่องรอยไว้ กล่าว ได้ว่าอะไรก็ตามที่มาเกี่ยวพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ได้ทั้งสิ้น การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 1. แบ่งตามยุคสมัย 1.1. หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มีการบันทึกเป็น อักษร แต่เป็นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ ร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของมนุษย์ก่อน ประวัติศาสตร์ ในลักษณะของการบอกเล่าต่อๆกันมา เป็นนิทานหรือตานานซึ่งเราเรียกว่า “ มุขปาฐะ ” 1.2 หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานสมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร และ บันทึกในวัสดุต่างๆ มีร่องรอยที่แน่นอนเกี่ยวกับสังคมเมือง มีการรู้จักใช้เหล็ก และโลหะอื่นๆ มา เป็นเครื่องมือใช้สอยที่ปราณีต มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรูปเคารพในศาสนาอย่าง ชัดเจน 2. แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก 2.1. หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ บันทึกความทรงจา เอกสารทางวิชาการ ชีวประวัติ จดหมายส่วนตัว หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม ตาราวิทยานิพนธ์ งานวิจัย ในการศึกษาประวัติศาสตร์ในประเทศไทย มีการ เน้นการฝึกฝนทักษะการใช้หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร เป็นส่วนใหญ่ จนอาจกล่าวได้ว่า หลักฐานประเภทนี้เป็นแก่นของงานทางประวัติศาสตร์ไทย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (Historical Sources)
  7. 7. 7 2.2. หลักฐานไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ เงินตรา หลักฐานจากการบอกเล่า ที่เรียกว่า “ มุขปาฐะ ” หลักฐานด้านภาษา เกี่ยวกับ พัฒนาการของภาษาพูด หลักฐานทางศิลปกรรม ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ หลักฐานประเภทโสตทัศน์ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพสไลด์ แผนที่ โปสเตอร์ แถบ บันทึกเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณียากร 2.3. แบ่งตามลาดับความสาคัญ 2.3.1. หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทาขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง หรือบ่งบอกให้รู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในสมัยนั้นจริงๆ ทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึกคาให้การ จดหมายเหตุ กฎหมาย ประกาศของทางราชการ ศิลาจารึก จดหมายโต้ตอบ และที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสี ผนังถ้า เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ เจดีย์ 2.3.2.หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง หลักฐานที่เกิด จากการนาหลักฐานชั้นต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้ว ได้แก่ ตานาน พงศาวดารนัก- ประวัติศาสตร์บางท่านยังได้แบ่งหลักฐานประวัติศาสตร์ออกไปอีกเป็น หลักฐานชั้นที่สามหรือ ตติยภูมิ (Tertiary sources) หมายถึง หลักฐานที่เขียนหรือรวบรวมขึ้น จากหลักฐานปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาอ้างอิง เช่น สารานุกรม หนังสือแบบเรียน และ บทความทาง ประวัติศาสตร์ต่างๆ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทยที่สาคัญได้แก่ 1. จารึก เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เพราะวัสดุที่ใช้จารึกมีความ คงทนถาวร เช่น แท่งหิน แผ่นเงิน แผ่นทองคา หรือทองแดง และไม่ถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความได้ ง่ายๆ ในดินแดนประเทศไทยได้พบจารึกเป็นจานวนมาก เช่น ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูป ปูชนีย- สถานต่างๆ และจารึกด้วยอักษรและภาษาต่างๆ เช่น เขมร มอญ อินเดียใต้ และไทย บางจารึกเป็น ของอาณาจักรที่มีอิทธิพลอยู่ในดินแดนไทย เช่น อาณาจักรทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา อยุธยา บางจารึกไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าอยู่ที่ใด เช่น จารึก “ ศรีจนาศะ ” เป็นต้น ข้อความในศิลา- จารึกส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความเชื่อทางศาสนา เช่นจารึก “ เย ธัมมา...” ซึ่งเป็นหัวใจของ พระพุทธศาสนาที่พบในภาคกลางของประเทศไทยจารึกที่ต้องการประกาศบุญของผู้ที่พระพุทธ - ศาสนาที่พบในภาคกลางของประเทศไทยจารึกที่ต้องการประกาศบุญของผู้ที่บูรณะพระพุทธศาสนา เช่น จารึกปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จารึกวัดเสมาเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช
  8. 8. 8 เป็นต้น นอกจากนี้ก็มีจารึกที่จัดทาขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการเมือง และการปกครอง เช่น จารึก สุโขทัยหลักที่ 38 ซึ่งเป็นกฎหมายลักษณะลักพาที่อาณาจักรอยุธยาประกาศใช้ในดินแดนที่เป็น อาณาจักรสุโขทัย จารึกเจดีย์ศรีสองรักที่จังหวัดเลย ประกาศความเป็นพันธมิตรของกษัตริย์อยุธยา กับล้านช้าง จารึกหลักที่ 45 (จารึกปู่ขุนจิตขุนจอด) เป็นการประกาศการเป็นพันธมิตรระหว่างเมือง น่าน กับสุโขทัย ศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคาแหง เป็นจารึกที่สรรเสริญพระเกียรติคุณของ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชในด้านต่างๆ จารึกวัดศรีชุม เป็นจารึกที่เป็นเรื่องราวของมหาเถรศรี ศรัทธาจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทวีป ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย เป็นต้น ภาพที่ 2-1 ศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่มา : http://www.siambestname.com
  9. 9. 9 2. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เนื่องจากดินแดนไทยเป็นเส้นทางการค้ามาตั้งแต่สมัยโบราณทาให้มี เอกสารต่างชาติบันทึกเรื่องราวของดินแดนไทยไว้ เช่น วรรณคดีอินเดียที่เรียกว่า “คัมภีร์นิเทสะ และมิลินท-ปัญหา” ในราวพุทธศตวรรษที่ 6 นับเป็นเอกสารต่างชาติที่เก่าที่สุด ในพุทธศตวรรษที่ 8 มีนักภูมิศาสตร์ชาวกรีกเดินทางมาถึงดินแดนแถบประเทศไทย และบันทึกไว้ในหนังสือภูมิศาสตร์ ของพโทเลมี (Ptolemy’s Geography) เอกสารจีนโบราณ เช่น จดหมายเหตุของหลวงจีนอี้จิง ใน พุทธศตวรรษที่ 13 รายงานของคณะทูตจีน “โจวตากวน” ในพุทธศตวรรษที่ 19 พ่อค้าชาวอาหรับ และ เปอร์เซีย ที่กล่าวถึง เมืองท่า หรือรัฐโบราณในดินแดนไทย ส่วนเอกสารชาวตะวันตกมี มากในพุทธศตวรรษที่ 21 เช่นชาวโปรตุเกส ได้แก่ จดหมายเหตุของโทเม ปิเรส์ (Tome Pires) จดหมายเหตุของบรัซ อัลบูแคร์ก (Braz d’ Albuquerque) จดหมายเหตุการณ์เดินทางของเฟอร์นันด์ เมนเดส ปินโต (Fernand Mendes Pinto) ชาวฮอลันดา เช่น จดหมายเหตุของนายสเคาเตน (Joost Schouten) นายเยเรเมียส ฟาน ฟลีท (Jeremias Van Vliet) จดหมายเหตุของหมอแกมป์เฟอร์ ชาวอังกฤษ เช่น จดหมายของนายยอร์ช ไวท์ เอกสารการติดต่อของพนักงาน บริษัทกับพ่อค้าอังกฤษ เรื่อง “ เอกสารบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย และต่างประเทศ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ” จดหมายเหตุของนายจอห์น ครอเฟิร์ด เอกสารของนายเฮนรี เบอร์นี และ เซอร์จอห์น เบาว์ริง ชาวฝรั่งเศส เช่น จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุนิโคลาส แชร์แวส จดหมาย เหตุเล่าเรื่องกรุงสยามของสังฆราชปัลเลกัวซ์ ชาวอเมริกัน เช่น บันทึกของหมอบรัดเลย์เป็นต้น ภาพที่ 2-2 บันทึกสยามของชาวต่างชาติ ที่มา: http://www.lovesiamoldbook.com
  10. 10. 10 3. จดหมายเหตุ เป็นการรวบรวมความทรงจาเกี่ยวกับประเพณีและพระราชพิธีเก่าๆ เช่น จดหมายเหตุขุนโขลน จดหมายเหตุพระราชพิธีโสกันต์เจ้านาย จดหมายเหตุสมโภชช้างเผือก เป็น ต้น 4. พระราชพงศาวดาร เป็นการรวบรวมพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ที่เก่าแก่ ที่สุดคือ พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช นอกจากนี้มีพระราช พงศาวดารฉบับพระจักรพรรดิพงศ์(จาด) ฉบับพันจันทรุมาศ(เจิม) ฉบับพระพนรัตน์ พระราช พงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม พระราชพงศาวดารสังเขปฉบับกรมสมเด็จพระปรมานุชิต ชิโนรส พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดารเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นฉบับที่ ผ่านกระบวนการชาระพระราชพงศาวดารแล้ว ภาพที่ 2-.3 พระราชพงศาวดาร กรุงเก่า ที่มา : http://www.google.co.th/search
  11. 11. 11 5. เอกสารการปกครอง ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่มีในสมัยรัตนโกสินทร์ หลังจากที่ได้มีการ จัดตั้งกรมหรือกระทรวงขึ้นแล้ว เอกสารเหล่านี้จะมีการจัดเก็บเป็นระบบขึ้น เช่น ใบบอก ซึ่งเป็น รายงานจากข้าราชการส่วนภูมิภาคส่งมาให้รัฐบาลที่กรุงเทพฯ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น การส่งส่วย การส่งสิ่งของที่ถูกเกณฑ์ รายงานเรื่องการเกษตร การรบทัพ เป็นต้น ตราสารศุภอักษร คือหนังสือ จากเสนาบดีที่กรุงเทพฯ มีถึงเจ้าเมือง หรือเจ้าประเทศราช บัญชีทูลเกล้า เป็นรายงานจากเจ้าหน้าที่ ส่วนกลางสรุปบัญชีเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายให้พระเจ้าแผ่นดินทอดพระเนตร เช่นเรื่องการค้ากับเมืองจีน บัญชีไพร่กรมกองต่างๆ บันทึก เป็นเรื่องราชการต่างๆ เช่นบันทึกที่เรียกว่า “จดหมายหลวงอุดม สมบัติ”และ“บันทึกพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คาให้การ เช่น คาให้การของคดีอุทธรณ์ คาให้การของข้าศึก เป็นต้น 6. บันทึกเหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ เช่น “ความทรงจา” ของสมเด็จฯ กรมพระยาดารงรา ชานุภาพ จดหมายเหตุความทรงจา ของกรมหลวงนรินทร์เทวี ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง ของนายดิเรก ชัยนาม เป็นต้น 7. จดหมาย เช่น พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5 เป็นต้น 8. หนังสือพิมพ์ ซึ่งมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ ข่าวราชการที่เรียกว่า “ราชกิจจา - นุเบกษา” “บางกอก รีคอร์เดอร์” รวมทั้งหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน 9. งานนิพนธ์ทางประวัติศาสตร์ และวิทยานิพนธ์ 10. ตานาน เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาในเรื่องเกี่ยวกับความเป็นมาของเมือง ปูชนีย สถาน ปูชนียวัตถุ โดยการบอกเล่าต่อๆ กันมา แล้วรวบรวมเขียนขึ้นภายหลัง ตานานจึงมีเรื่องนิทาน คติชาวบ้านและข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ร่วมกัน เช่น ตานานเมืองหริภุญไชย ตานานหิรัญนคร ตานานสิงหนวัติกุมาร ตานานพระธาตุช่อแฮ ตานานพระแก้วมรกต พงศาวดารโยนก เป็นต้น มีงาน นิพนธ์บางเรื่องที่ใช้ชื่อเรียกว่า ตานาน แต่ไม่ใช่ เช่น ตานานวังหน้า ตานานการเลิกบ่อนเบี้ย และ เลิกหวย เป็นต้น
  12. 12. 12 11. วรรณกรรม (อังกฤษ: Literature) หมายถึง งานเขียนที่แต่งขึ้นหรืองานศิลปะ ที่เป็น ผลงานอันเกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง นามาบอกเล่า บันทึก ขับร้อง หรือสื่อ ออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว จะแบ่งวรรณกรรมเป็น 2 ประเภท คือ วรรณกรรมลายลักษณ์ คือวรรณกรรมที่บันทึกเป็นตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ อันได้แก่วรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จดบันทึก ด้วยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้าง ถึงประวัติ นิทาน ตานาน เรื่องเล่า ขาขัน เรื่องสั้น นวนิยาย บทเพลง คาคม เป็นต้น ภาพที่ 2-4 วรรณกรรมพื้นบ้าน ที่มา : http://www.google.co.th/search หลักฐานไทยมีน้อย สาเหตุมาจาก 1.คนไทยไม่นิยมการจดบันทึก 2.อาจถูกทาลายไปตอนสงคราม 3.เสียหายเพราะอากาศร้อน
  13. 13. 13 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม จากนั้นให้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย เพื่อเตรียมนาเสนอดังนี้ ( 5 คะแนน) ชื่อ..........................................................................................ชั้น.................. เลขที่.................. กลุ่มที่ 1 เรื่อง จารึก จดหมายเหตุของชาวต่างชาติ กลุ่มที่ 2 เรื่อง จดหมายเหตุ พงศาวดาร กลุ่มที่ 3 เรื่อง เอกสารการปกครอง กลุ่มที่ 4 เรื่อง บันทึกเหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ กลุ่มที่ 5 เรื่อง จดหมาย หนังสือพิมพ์ กลุ่มที่ 6 เรื่อง ตานาน วรรณกรรม กิจกรรมที่ 1
  14. 14. 14 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียน ศึกษาและตอบคาถามเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยต่อไปนี้ (10 คะแนน) ชื่อ..........................................................................................ชั้น.................. เลขที่.................. 1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึงอะไร ........................................................................... 2.หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คืออะไร .......................................................................... 3.ยกตัวอย่างหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ........................................................................... 4.การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามยุคสมัย ได้แก่อะไรบ้าง ..................... ............................................................................................................................................................. 5.ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ................................................ 6.การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามความสาคัญ ได้แก่อะไรบ้าง ..................... ............................................................................................................................................................. 7.หลักฐานชั้นต้น หมายถึงอะไร ....................................................................................................... 8.หลักฐานชั้นรอง หมายถึงอะไร ........................................................................................................ 9.พระราชพงศาวดาร หมายถึงอะไร ................................................................................................... 10.ตานานหมายถึงอะไร ...................................................................................................................... กิจกรรมที่ 2
  15. 15. 15 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียน คิดวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แล้วเติมคาตอบที่ถูกต้อง ( 7 คะแนน) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.................... เลขที่.................. หลักฐาน ประเภทของหลักฐาน ข้อจากัดในการศึกษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวอย่าง 1. ศิลาจารึก หลักฐานชั้นต้นที่เป็น ลายลักษณ์อักษร - ตัวอักษรอาจเลอะ เลือนบางคาอาจผิดแผก แตกต่างจากปัจจุบัน ต้องอาศัยการตีความ - ประวัติศาสตร์ไทย สมัยสุโขทัย 2. ตานานจาม เทวีวงศ์ ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. 3. พงศาวดาร หลวง ประเสริฐ ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ………………………. ………………………. กิจกรรมที่ 3
  16. 16. 16 หลักฐาน ประเภทของหลักฐาน ข้อจากัดในการศึกษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ 4. จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. 5. โครงกระดูก มนุษย์ ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. 6. เจดีย์ พระธาตุพนม ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ...................................... 7. หนังสือเรื่อง “ไทยรบพม่า” ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ……………………….. ......................................
  17. 17. 17 ในการสืบค้น ค้นคว้าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่น จากหลักฐานทางวัตถุที่ ขุดค้นพบ หลักฐานที่เป็นการบันทึกลายลักษณ์อักษร หลักฐานจากคาบอกเล่า ซึ่งการรวบรวม เรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ เรียกว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจาก หลักฐานแล้วนามาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใด จึงเกิดขึ้น หรือเหตุการณ์ในอดีตนั้นได้เกิดและคลี่คลายอย่างไร ซึ่งเป็นความมุ่งหมายที่สาคัญของ การศึกษาประวัติศาสตร์ความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ สาหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ นั้น มีปัญหาที่สาคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ อดีตที่มีการฟื้นหรือจาลองขึ้นมาใหม่นั้น มีความถูกต้อง สมบูรณ์และเชื่อถือได้เพียงใดรวมทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ นามาใช้เป็นข้อมูลนั้น มีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มีอยู่ มากมายเกินกว่าที่จะศึกษาหรือจดจาได้หมดแต่หลักฐานที่ใช้เป็นข้อมูลอาจมีเพียงบางส่วน ดังนั้น วิธีการทางประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพื่อใช้เป็นแนวทางสาหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ ฝึกฝนทางประวัติศาสตร์จะได้นาไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลาเอียง และเพื่อให้เกิด ความน่าเชื่อถือ ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดเป้ าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัย อะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคาถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การ สังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคาถามหลักที่นัก ประวัติศาสตร์ควรคานึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทาไมและเกิดขึ้นอย่างไร วิธีการทางประวัติศาสตร์
  18. 18. 18 ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษรมีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น (ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) การรวบรวม ข้อมูลนั้น หลักฐานชั้นต้นมีความสาคัญ และความน่าเชื่อถือมากกว่าหลักฐานชั้นรอง แต่หลักฐาน ชั้นต้นอธิบายเรื่องราวให้เข้าใจได้ง่ายกว่าหลักฐานชั้นรองในการรวบรวมข้อมูลประเภทต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ควรเริ่มต้นจากหลักฐานชั้นรองแล้วจึงศึกษาหลักฐานชั้นต้น ถ้าเป็นหลักฐาน ประเภทไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ควรเริ่มต้นจากผลการศึกษาของนักวิชาการที่เชี่ยวชาญในแต่ละ ด้านก่อนไปศึกษาจากของจริงหรือสถานที่จริงการศึกษาประวัติศาสตร์ที่ดีควรใช้ข้อมูลหลาย ประเภท ขึ้นอยู่กับว่าผู้ศึกษาต้องการศึกษาเรื่องอะไร ดังนั้นการรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องจดบันทึก รายละเอียดต่างๆ ทั้งข้อมูลและแหล่งข้อมูลให้สมบูรณ์และถูกต้อง เพื่อการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความ น่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทา ควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐาน นั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์ หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอกการวิพากษ์หลักฐาน (external criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบ หลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งที่ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขั้นตอนนี้เป็นการสกัดหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือออกไป การวิพากษ์ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายในการวิพากษ์ข้อมูล (internal criticism) คือ การพิจารณา เนื้อหาหรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐาน เพื่อประเมินว่าน่าเชื่อถือเพียงใด โดยเน้นถึงความ ถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายที่แท้จริง ซึ่งนับว่ามีความสาคัญต่อการประเมินหลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในเอกสารมีทั้งที่คลาดเคลื่อน และมีอคติของผู้บันทึกแฝงอยู่ หากนัก ประวัติศาสตร์ละเลยการวิพากษ์ข้อมูลผลที่ออกมาอาจจะผิดพลาดจากความเป็นจริง
  19. 19. 19 ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริง อย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆ เพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตามในการตีความหลักฐาน นัก ประวัติศาสตร์จึงต้องพยายามจับความหมายจากสานวนโวหาร ทัศนคติ ความเชื่อ ฯลฯ ของผู้เขียน และสังคมในยุคสมัยนั้นประกอบด้วย เพื่อทีจะได้ทราบว่าถ้อยความนั้นนอกจากจะหมายความตาม ตัวอักษรแล้ว ยังมีความหมายที่แท้จริงอะไรแฝงอยู่ ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือ นาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นในขั้นตอนนี้ ผู้ศึกษาจะต้องนาข้อมูลที่ผ่านการตีความมา วิเคราะห์ หรือแยกแยะเพื่อจัดแยกประเภทของเรื่อง โดยเรื่องเดียวกันควรจัดไว้ด้วยกัน รวมทั้งเรื่อง ที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน เรื่องที่เป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน จากนั้นจึงนาเรื่องทั้งหมดมา สังเคราะห์หรือรวมเข้าด้วยกัน คือ เป็นการจาลองภาพบุคคลหรือเหตุการณ์ในอดีตขึ้นมาใหม่ เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์และความต่อเนื่อง โดยอธิบายถึงสาเหตุต่างๆ ที่ทาให้เกิดเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และผล ทั้งนี้ผู้ศึกษาอาจนาเสนอเป็นเหตุการณ์พื้นฐาน หรือเป็นเหตุการณ์เชิง วิเคราะห์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการศึกษา คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ 1. วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอื่นๆ ที่เป็นร่องรอยจาก อดีตอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมา อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผล 2. ขั้นตอนการวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์หรือการตรวจสอบความจริงจากข้อมูลและ หลักฐาน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการค้นหาความหมายที่ซุกซ่อนอยู่ในหลักฐานจะทาให้ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์ระมัดระวัง และคิดพิจารณาข้อเท็จ และข้อจริงที่แฝงอยู่ในหลักฐานให้ชัดเจน 3. วิธีการทางประวัติศาสตร์เน้นการเข้าใจอดีต คือ การให้ผู้ศึกษาเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ต้องทาความเข้าใจยุคสมัยที่ตนศึกษา เพื่อให้เข้าถึงความคิดของผู้คนในยุคนั้น โดยไม่นาความคิด ของปัจจุบันไปตัดสินอดีต
  20. 20. 20 อย่างไรก็ตามเมื่อประวัติศาสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนุษย์วิธีการทาประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นวิธีการในการสืบสวนและค้นคว้าจึงนับเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบหนึ่งที่มี เหตุผลประกอบผลสรุปนั่นเอง
  21. 21. 21 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาจับฉลากเพื่อเลือกหัวข้อ วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ สรุปแต่ละหัวข้อพร้อมทั้งนาเสนอหน้าห้องเรียน ( 5 คะแนน ) กลุ่มที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดเป้ าหมาย กลุ่มที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล กลุ่มที่ 3 ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน กลุ่มที่ 4 ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน กลุ่มที่ 5 ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอ กิจกรรมที่ 4
  22. 22. 22 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาชุมชนของตนเองด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ แล้วนาผลที่ได้จัดทา เป็นรายงานส่งครู ( 10 คะแนน) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.................... เลขที่.................. ศึกษาชุมชนของตนเองด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1. กาหนดชื่อเรื่อง 2. รวบรวมข้อมูล 3. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4. การตีความหลักฐาน 5. การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอ กิจกรรมที่ 5
  23. 23. 23 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด ( 5 คะแนน) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.................... เลขที่..................  1. วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์มีอยู่ 4 ขั้นตอน  2. การตีความหลักฐานจัดเป็นวิธีหนึ่งของวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์  3. การกาหนดปัญหาเป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาจะตัดสินใจว่าจะศึกษาค้นคว้าเรื่องอะไร  4. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร แหล่งค้นคว้าที่สาคัญคือสถานที่จริง  5. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอาจจะศึกษาจากงานเขียนของนักโบราณคดี  6. การตรวจสอบหลักฐานไม่จาเป็นต้องรู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้นสร้างขึ้นหรือเขียน ขึ้นเมื่อใด  7. หลักฐานที่ตรวจสอบพบว่าเป็นของปลอมส่วนใหญ่จะไม่นิยมนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า  8. การประเมินคุณค่าของหลักฐานคือ การพิจารณาว่าข้อมูลในหลักฐานนั้นมีความน่าเชื่อ เพียงใด  9. ในการประเมินหลักฐานจาเป็นที่จะต้องนาแนวคิดในปัจจุบันมาตัดสินเรื่องราวในอดีตด้วย  10. การตีความหลักฐานคือการทาความเข้าใจว่าหลักฐานนั้นมีความหมายว่าอย่างไร มีข้อมูล อะไร หนูทาได้ กิจกรรมที่ 6
  24. 24. 24 แบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์ คำชี้แจง 1.แบบทดสอบฉบับนี้มี 15 ข้อ คะแนนเต็ม 15 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดจัดได้ว่าเป็นหลักฐานชั้นต้น ก พระพุทธรูป ข พระไตรปิฎก ค จดหมายเหตุวันวลิต ง เครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียง 2.โบราณสถาน โบราณวัตถุ จัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทใด ก หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ข หลักฐานที่เป็นกึ่งลายลักษณ์อักษร ค หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ง ทุกข้อถูก 3.วิธีการในข้อใดที่เป็นการนาเสนอข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ให้เป็นเรื่องราว ก การค้นคว้าและการตีความ ข การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ ค การตีความและการสังเคราะห์ ง การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ 4 นักประวัติศาสตร์ศึกษาเรื่องราวพฤติกรรมของมนุษย์จากสิ่งใด ก คาบอกเล่าต่อ ๆ กันมา ข หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ค หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ง ไม่มีข้อใดถูก 5.การวิเคราะห์ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีลักษณะอย่างไร ก สรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่าคืออะไร ข การเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามข้อมูลที่มีอยู่ ค การจัดเรียงลาดับเวลาก่อนหลังของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ง การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ผ่านการตีความอย่างมีเหตุผล
  25. 25. 25 6 สมัยประวัติศาสตร์หมายความว่าอย่างไร ก สมัยที่มนุษย์มีตัวหนังสือใช้แล้ว ข สมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวหนังสือใช้ ค สมัยที่มนุษย์ทาเครื่องมือล่าสัตว์ได้ ง สมัยที่มนุษย์เริ่มตั้งถิ่นฐาน 7. การบันทึกเรื่องราวในอดีตของมนุษย์เรียกว่าอะไร ก พงศาวดาร ข มานุษยวิทยา ค ประวัติศาสตร์ ง จดหมายเหตุ 8. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ก การค้นหาข้อมูล และรวบรวมหลักฐาน ข การตั้งคาถาม และกาหนดประเด็นของการศึกษา ค การอธิบายที่มีเหตุผล และมีคาตอบที่ชัดเจน ง การแสวงหาความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล 9.หลักฐานประเภทคาบอกเล่าเหมาะสาหรับใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ในข้อใด ก ประวัติศาสตร์ชาติไทย ข ประวัติศาสตร์สากล ค ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ง ประวัติศาสตร์โบราณ 10. เหตุใดจึงกล่าวว่าพระราชพงศาวดารเป็นหลักฐานที่สาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัย อยุธยา ก เพราะให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์พระราชวงศ์ได้มากกว่าหลักฐานอื่น ข เพราะให้ความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรได้ละเอียดมากกว่าหลักฐานอื่น ค พระราชพงศาวดารควรจะบันทึกแต่เหตุการณ์ที่สาคัญ ๆ เท่านั้น ง เพราะราชพงศาวดารเป็นหลักฐานที่เก็บได้ง่ายกว่าหลักฐานอื่น 11. ข้อใดกล่าวถึงจดหมายเหตุโหรได้ถูกต้อง ก การบันทึกเรื่องราวของพระมหากษัตริย์ ข การบันทึกเหตุการณ์สาคัญเป็นรายวันตามลาดับทั้งปี ค การบันทึกของชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อกับไทย ง การบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับขนบประเพณี
  26. 26. 26 12. ข้อใดเป็นหลักฐานโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ก แหล่งโบราณคดีพงดึก อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี ข แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า อ.เมือง จ. กาญจนบุรี ค แหล่งโบราณคดีบ้านนาดี อ. หนองหาน จ. อุดรธานี ง แหล่งโบราณคดีถ้าผี อ. เมือง จ. แม่ฮ่องสอน 13. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ก จดหมายเหตุ ข พงศาวดาร ค จารึก ง เพลงพื้นบ้าน 14. วิธีการที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ กี่ขั้นตอน ก 2 ขั้นตอน ข 3 ขั้นตอน ค 4 ขั้นตอน ง 5 ขั้นตอน 15. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง ก บันทึกที่ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2475 เขียนขึ้นถือเป็นหลักฐานชั้นรอง ข ตานานถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ค ศุภอักษรถือเป็นหลักฐานชั้นต้น ง เครื่องมือหินถือเป็นหลักฐานทางโบราณคดี
  27. 27. 27 http://www.e-learning.sg.or.th/ac6_7/content.html.10 พฤษภาคม 2549 http://www.google.co.th/ ศักราชและการเทียบศักราช. 10 พฤษภาคม พ.ศ.2549 http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/others/wilaiporn/__20.ht ml.10 พฤษภาคม 2549 http://mathayom.brr.ac.th/~usaa/test1.html. 10 ตุลาคม 2554 บรรณานุกรม
  28. 28. 28 ภาคผนวก
  29. 29. 29 ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คาตอบ ค ง ข ค ง ง ค ง ก ข ก ง ง ง ค ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คาตอบ ค ค ข ข ง ง ค ข ค ก ข ก ง ง ก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์และ วิธีการทางประวัติศาสตร์ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์และ วิธีการทางประวัติศาสตร์
  30. 30. 30 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม จากนั้นให้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย เพื่อเตรียมนาเสนอดังนี้ ( 5 คะแนน) ชื่อ..........................................................................................ชั้น.................. เลขที่.................. กลุ่มที่ 1 เรื่อง จารึก จดหมายเหตุของชาวต่างชาติ กลุ่มที่ 2 เรื่อง จดหมายเหตุ พงศาวดาร กลุ่มที่ 3 เรื่อง เอกสารการปกครอง กลุ่มที่ 4 เรื่อง บันทึกเหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ กลุ่มที่ 5 เรื่อง จดหมาย หนังสือพิมพ์ กลุ่มที่ 6 เรื่อง ตานาน วรรณกรรม นักเรียนสรุปเป็นองค์ความรู้ เฉลยกิจกรรมที่ 1
  31. 31. 31 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียน ศึกษาและตอบคาถามเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยต่อไปนี้ (5 คะแนน) ชื่อ...............................................................................................ชั้น................. เลขที่…............ (แนวตอบ) 1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึงอะไร ตอบ ร่องรอยการกระทา การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ 2.หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึงอะไร ตอบ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นอักษร 3.ยกตัวอย่างหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ตอบ ซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ เครื่องมือ- เครื่องใช้ เครื่องประดับ ร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน 4.การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามยุคสมัย ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ 1 หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2.หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ 5.ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ตอบ จารึก จารึกสุโขทัยหลักที่ 38 จดหมายเหตุชาวต่างชาติ 6.การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามความสาคัญ ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ หลักฐานชั้นต้น หลักฐานชั้นรอง 7.หลักฐานชั้นต้น หมายถึง อะไร ตอบ หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทาขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง เฉลยกิจกรรมที่ 2
  32. 32. 32 8.หลักฐานชั้นรอง หมายถึงอะไร ตอบ หลักฐานที่เกิดจากการนาหลักฐานชั้นต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้ว 9.พระราชพงศาวดาร หมายถึงอะไร ตอบ เป็นการรวบรวมพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ที่เก่าแก่ที่สุดคือ พระราชพงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐ 10.ตานาน หมายถึง อะไร ตอบ เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาในเรื่องเกี่ยวกับความเป็นมาของเมือง ปูชนีย-สถาน ปูชนียวัตถุ โดยการบอกเล่าต่อๆ กันมา
  33. 33. 33 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย คาชี้แจง ให้นักเรียนแบ่ง คิดวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แล้วเติมคาตอบที่เหมาะสม (7 คะแนน) ชื่อ..................................................................................................ชั้น……........... เลขที่.............. (แนวตอบ) หลักฐาน ประเภทของหลักฐาน ข้อจากัดในการศึกษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ... ตัวอย่าง 1.ศิลาจารึก หลักฐานชั้นต้นที่เป็น ลายลักษณ์อักษร - ตัวอักษรอาจเลอะ เลือนบางคาอาจผิดแผก แตกต่างจากปัจจุบัน ต้องอาศัยการตีความ - ประวัติศาสตร์ไทย สมัยสุโขทัย 2 . ตานานจามเทวี วงศ์ หลักฐานชั้นต้นที่เป็น ลายลักษณ์อักษร -ผสมด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ มีเค้าความจริงอยู่บ้าง แต่ ต้องอาศัยการตีความและ หลักฐานอื่นประกอบ - การสร้างเมืองลาพูน 3. พงศาวดาร หลวงประเสริฐ หลักฐานชั้นต้นที่เป็น ลายลักษณ์อักษร - จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พระราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริย์ ดังนั้น จึงให้ข้อมูลด้านเดียว อาจมีอคติอยู่บ้าง - ประวัติศาสตร์ไทย สมัยอยุธยา เฉลยกิจกรรมที่ 3
  34. 34. 34 หลักฐาน ประเภทของหลักฐาน ข้อจากัดในการศึกษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ... 4. จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ หลักฐานชั้นต้นที่เป็น ลายลักษณ์อักษร บันทึกโดยชาวต่างชาติ ด้วยมุมมองและทัศนคติ แบบชาวต่างชาติ อาจไม่ เข้าใจวัฒนธรรมของไทย - ประวัติศาสตร์ไทย สมัย พระนารายณ์ มหาราช 5. โครงกระดูก มนุษย์ หลักฐานโบราณคดี หรือหลักฐานที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร - โดยใช้การพิสูจน์ด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ว่าเป็นมนุษย์ยุคใด จึงจะ เชื่อถือได้ - ความเป็นอยู่ของ มนุษย์ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ 6. เจดีย์พระธาตุ พนม หลักฐานโบราณคดีที่ไม่ เป็นลายลักษณ์อักษร - ให้ลายละเอียดไม่ได้ มากนัก เช่นสร้างสมัยใด ใครเป็นผู้สร้าง ต้องอาศัย การวิเคราะห์ ลักษณะ ทางสถาปัตยกรรม - วัฒนธรรม ประเพณี ของอาณาจักรฟูนัน ซึ่ง เป็นอาณาจักรโบราณใน ดินแดนประเทศไทย 7. หนังสือเรื่อง ไทยรบพม่า หลักฐานชั้นรองหรือที่ เป็นลายลักษณ์อักษร - มีความน่าเชื่อถือน้อย กว่าหลักฐานชั้นต้น เพราะเรียบเรียงโดยอาศัย หลักฐานชั้นต้น พร้อม กับการวิเคราะห์ตีความ ของผู้เขียน - ประวัติศาสตร์ไทย สมัย อยุธยา ธนบุรี และ รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในเรื่องการศึกสงคราม กับประเทศเพื่อนบ้าน
  35. 35. 35 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาจับฉลากเพื่อเลือกหัวข้อ วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ สรุปแต่ละหัวข้อพร้อมทั้งนาเสนอหน้าห้องเรียน ( 5 คะแนน ) กลุ่มที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดเป้ าหมาย กลุ่มที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล กลุ่มที่ 3 ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน กลุ่มที่ 4 ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน กลุ่มที่ 5 ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอ นักเรียนสรุปเป็นองค์ความรู้ เฉลยกิจกรรมที่ 4
  36. 36. 36 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาชุมชนของตนเองด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ แล้วนาผลที่ได้จัดทา เป็นรายงานส่งครู ( 10 คะแนน) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.................... เลขที่.................. ดูจากรายงานที่นักเรียนส่งครู ศึกษาชุมชนของตนเองด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1. กาหนดชื่อเรื่อง 2. รวบรวมข้อมูล 3. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4. การตีความหลักฐาน 5. การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอ เฉลยกิจกรรมที่ 5
  37. 37. 37 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด (5 คะแนน) ชื่อ..................................................................................................ชั้น……........... เลขที่.............. (แนวตอบ)  1. วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์มีอยู่ 4 ขั้นตอน  2. การตีความหลักฐานจัดเป็นวิธีหนึ่งของวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์  3. การกาหนดปัญหาเป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาจะตัดสินใจว่าจะศึกษาค้นคว้าเรื่องอะไร  4. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร แหล่งค้นคว้าที่สาคัญคือสถานที่จริง  5. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอาจจะศึกษาจากงานเขียนของนักโบราณคดี  6. การตรวจสอบหลักฐานไม่จาเป็นต้องรู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้นสร้างขึ้นหรือเขียน ขึ้นเมื่อใด  7. หลักฐานที่ตรวจสอบพบว่าเป็นของปลอมส่วนใหญ่จะไม่นิยมนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า  8. การประเมินคุณค่าของหลักฐานคือ การพิจารณาว่าข้อมูลในหลักฐานนั้นมีความน่าเชื่อถือ เพียงใด  9. ในการประเมินหลักฐานจาเป็นที่จะต้องนาแนวคิดในปัจจุบันมาตัดสินเรื่องราวในอดีตด้วย  10. การตีความหลักฐานคือการทาความเข้าใจว่าหลักฐานนั้นมีความหมายว่าอย่างไร มีข้อมูล อะไร เฉลยกิจกรรมที่ 6
  38. 38. 38 แบบบันทึกการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ ชื่อ-นามสกุล รายการสังเกต สรุปผล การ ประเมิน ความสนใจในการศึกษา การมีน้าใจต่อเพื่อน ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่กระบวนการ ส่งชิ้นงานตาม กาหนดเวลา 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 ผ./มผ. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมินผล 2 หมายถึง ดี ปฏิบัติงานได้เทียบเท่าคนทั่วไป 1 หมายถึง ปานกลาง ปฏิบัติงานได้ครึ่งหนึ่งของคนทั่วไป 0 หมายถึง ปรับปรุง ปฏิบัติได้ไม่ดี ลงชื่อ………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………..)
  39. 39. 39 กระดาษคาตอบ ชื่อ-สกุล.............................................เลขที่..................ชั้น................ สรุปผลการเรียน ประเมินผล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 รวม ก่อน เรียน หลัง เรียน คะแนนเต็ม 5 5 5 5 25 15 15 คะแนนได้ หลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ก่อนเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น